แนะนำเมนูหลัก กดปุ่ม MENU เพื่อเข้าสู่เมนูหลัก จะสามารถเลือกเมนูย่อย กดปุ่มลูกศรเพื่อเลือกเมนูย่อย กดปุ่ม OK เพื่อยืนยันเข้าสู่เมนูย่อย กดปุ่มMENU เพื่อกลับเมนูหลักหรือกด EXIT เพื่อกลับสู่หน้าจอปกติ
1.Configuration Tim Setting :การตั้งเวลาปัจจุบัน -Tim Setting : ทำได้ในสองแบบคือ แบบอัตโนมัติรับข้อมูลจากดาวเทียม และปรับด้วยผู้ใช้งานเอง Auto Time Setting -Local offset : ใส่ค่าชดเชย ตามไทม์โซน ประเทศไทยใช้+7 -Daylinght Saving : ประเทศไทยเซ็ทไว้เป็น off
แบบกำหนดโดยผู้ใช้ -Date: ใส่วันที่ในปฎิทิน โดยใช้ปุ่มลูกศรเพื่อเลื่อน และกดปุ่ม OK เพื่อยืนยัน -Time : ใสส่เวลา โดยใช่ปุ่ม ตัวเลข Clock Mode : เลือกรูปแบบการแสดงเวลา แบบ 12 หรือ 24 ชั่วโมง โดยปุ่มลูกศร Wak Up Mode : การตั้งเวลา ใส่เวลาที่ต้องการให้เครื่องรับฯเปิดทำงานเองอัตโนมัติ และกำหนดสถานะได้ว่าไม่ใช้งาน(ปิด) หรือครั้งเดียวหรือทุกวันหรือ ทุกสัปดาห์ -Weke Up Date : ตั้งเปิดครั้งเดียวกดปุ่ม OK จะเห็นปฏิทินเลือกเดือนปีที่ต้องการด้วยกดปุ่มลูกศรกด OK เพื่อยืนยัน -Weke Up days : ตั้งเปิดในสัปดาห์ กดปุ่มOK เลือกวันเปิดของสัปดาห์เช่น จันทร์ อังคาร ปุ่มลูกศรเลือกวันปุ่มสีแดงเลือกหรือยกเลิก -Weke Up Time: เวลาที่สั่งเปิด ใส่เวลาที่ต้องการให้เครื่องเปิดทำงาน ด้วยปุ่มตัวเลข -Weke Up Service : ช่องรายการที่ตั้งเปิด เลือกช่องรายการให้เครื่องกดปุ่ม OK จะเห็นรายชื่อช่องรายการเลือกด้วยลูกศรกด OK
Sleep Mode : กดตั้งเวลา ใส่เวลาที่ต้องการตั้งให้เครื่องปิดสู่โหมดสแตนด์บายโดยอัตโนมัติและเลือกใส่สถานะได้ว่าไม่ใช้งาน(ปิด) หรือ ครั้งเดียว หรือ ทุกวัน หรือ สัปดาห์ -Sleep Date : ตั้งปิดครั้งเดียว กดปุ่มOK เห็นปฏิทิน เลือกวันเดือนปีที่ต้องการด้วยปุ่มลูกศร กด OK เพื่อ ยืนยัน -Sleep Days : ตั้งปิดรายสัปดาห์ กดปุ่ม OK เลือกวันปิด ของสัปดาห์ เช่น จันทร์ อังคาร ปุ่มลูกศรเลือกวัน ปุ่มสีแดงเลือกหรือยกเลิก -Sleep Time : เวลาที่สั่งปิด ใส่เวลาที่ต้องการสั่งปิดโดยปุ่มตัวเลข
Time Managar : การจัดการเกียวกับการตั้งเวลาทำงาน To add new timer entry : การเพิ่มงานใหม่ กดปุ่มสีเขียว พิ่มงานใหม่ เมนูจากตั้งเวลาจะปรากฏ เซ็ท วันที่เวลา ระยะเวลา และช่องรายการที่ต้องการและเลือกใส่สถานะการตั้งเวลาเป็นครั้งเดียวทุกวันหรือทุกสัปดาห์และเลือกโหมดการทำงาน เป็นบันทึก หรือ เล่น -ถ้าใส่ Recording เป็นการบันทึกรายการตามเวลาที่ตั้งไว้ -ถ้าใส่ Play เป็นการแสดงภาพช่องรายการตามเวลาที่ตั้งไว้ (จองรายการ)
To modify exist timer entry การแก้ไขงานเดิมที่เซ็ทไว้แล้ว เลือกงานที่ต้องการแก้ไข กดปุ่ม OK
To delete exist timer entry การลบงานเดิมที่เซ็ทไว้แล้ว เลือกงานที่ต้องการลบกดปุ่ม สีแดง
UI Setting (User Interface Setting ): การตั้งค่าเมนูการติดต่อกับผู้ใช้ -OSD Transparency ; ตั้งค่าเปอร์เซ็นต์ความเข้มของเมนู(ความโปร่งแสง) -Info Box Postion : ตั้งตำแหน่งของเมนูบนจอภาพ -Info Box Display Time: ตั้งระยะเวลาในการปิดเมนูอัตโนมัติ -Volume Bar Display Time : ตั้งเวลานการในการปิดแถบระดับความดัง -EPG OSD Type: -ตั่งค่าTransparent เมื่อกดปุ่ม EPG เมนูแสดง แบบโปร่งแสงซ้อนช่องรายการ / -ตั้งค่า Picture in graphics เมื่อกดปุ่ม EPG เป็นการเลือกแสดงช่องรายการจอเล็ก -EPG Time Range; กำหนด คาบเวลา ที่แสดง ในเมนู EPG -Zapping Mode: การตั้งค่าพื้นหลัง Black screen หน้าจอดำก่อนเปลี่ยนช่องรายการ Freeze หยุดนิ่งภาพก่อนเปลี่ยนช่องรายการ
การกำหนดสิทธิเข้าใช้งาน -ตั้งกำหนดสิทธิเข้าชมช่องรายการและแก้ไข ซึ้งต้องใส่รหัสสี่หลักโดยท่านสามารถเปลี่ยนรหัสได้ด้วยตัวเอง (ระหัสจากโรงงงานคือ 0000) -Sensorship: กำหนดอายุผู้ชม -Change Pin code : การเปลี่ยนรหัสผ่าน เมื่อต้องการเปลี่ยนรหัสผ่านใส่รหัสใหม่โดยกดปุ่มตัวเลข และรหัสนั้นอีกครั้งในช่องถัดไปเพื่อเป็นการยืนยัน -System : กำหนดสิทธิการเข้าสู่เมนู System -Installation : กำหนดสิทธิการเข้าสู่เมนู Installation -Configuration : กำหนดสิทธิการเข้าสู่เมนู Configuration - Edit Service :กำหนดสิทธิการเข้าสู่เมนู Edit Service
การเลือกภาษา -Menu Language : เลือกภาษาที่ต้องการ (ภาษาทที่แสดงบนเมนู) -Audio Language : การเลือกเสียงซาวแทรค(ขึ้นอยู่กับทางสถานี) -Subtite Language : การเลือกคำบบรรยาย(ขึ้นอยู่กับทางสถานี)
การเลือกระบบสำหรับเครื่องรับโทรศัพน์นำมาต่อ -TV -Type : เลือกระบบทีวี PAL/NTSC/AUTO -TV Aspect Ratio: อัตตราส่วนของจอทีวี -Display Format : เลือกกาแสดงผล 4:3 แบบ Letter Box/Pan Scan -Sound Mode: รูปแบบเสียง Stereo/Mono/Left/Right -RF Type :รูปแบบของสัญาณ RF Mod เป็น PAL G/I/K -RF Service : เลือกจูนความถี่ RF Mod ช่องที่ 21~69 -Picture Adjust: การปรับภาพ ความสว่าง ความคมชัด และสี แบบมาตรฐาน หรือโดยผู้ใช้
การติดตั้ง Dish Setting การตั้งพารามเตอร์ต่างๆสำหรับหน้าจานจากหน้าจาน 1.Satellite: เลือกดาวเทียมที่ต้องการ -กด ปุ่มลูกศร ซ้าย-ขวา เพื่อเลือกดาวเทียม หรือกด OK เพื่อแสดงรายชื่อทั้งหมด -กดปุ่ม สีแดง เพื่อแก้ไขชื่อ กดปุ่มสีน้ำเงิน เพื่อดูความแรงของสัญญาณ -ถ้าชื่อ ดาวเทียมไม่อยู่ที่ต้องการไม่อยู่ในรายชื่อ ที่แสดง ให้เลือก User Defined หมายถึง กำหนดโดยผู้ใช้ 2. Frequency : เลือกดาวเทียมที่ต้องการ ใช้ปุ่มลูกศร ซ้าย-ขวา หรือ OK เพื่อแสดงความถี่ 3. LNB Power : กำหนด ปิดเปิด กระแสไฟฟ้าที่ส่งให้ LNB 4. LNB Type : เลือกชนิดของ LNB ที่ใช้ 5. LNB Frequency : ความถี่ LNB : เลือกความถี่ L.O(Local Oscillator)ของLNB -ใช้ปุ่มลูกศร ซ้าย-ขวา เลือกความถี่ LNB -ถ้าความถี่ LNB ที่ใช้ไม่อยู่ในรายการ ให้ส่งเลขความถี่ด้วยปุ่มตัวเลข -ถ้าใช้ LNB ชนิด Universal สามารถเลือกความถี่ L.O.เป็น 9750 และ 10600 6. LNB 22KHz: กรณีใช้ LNB แบบสองหัวหรือหน้าจานสองใบโดยใช้ switch box 22 KHz tone เป็นตัวเลือกสัญญาณซึ่งจะ ควบคุมด้วยการ ON หรือ OFF สัญญาณ 22HKz tone(0/22Khz) 7. DisEqC 1.0 : เลือก DisEqC อินพุทที่ต้องการ(ใช้กับ DisEqcC สวิทช์เวอร์ชั่น 1.0) 8. DisEqC 1.1: เลือก DisEqC อินพุทที่ต้องการ(ใช้กับ DisEqcC สวิทช์เวอร์ชั่น 1.1) 9. 0/12v :เลือกแรงดันไฟควบคุม เป็น 0v หรือ 12v (ใช้กับ Multi Switch บางรุ่นเท่านั้น) 10. Service Search : สแกนหาช่องรายการ :กดปุ่ม OK เพื่อเข้าสู่เมนู Service Search
Positioner Setting : การโปรแกรมตำแหน่งดาวเทียม 1. Satellite : เลือกดาวเทียมที่ต้องการ -กดปุ่มลูกศร ซ้าย-ขวา เพื่อเลือกดาวเทียม หรือกด OK เพื่อแสดงชื่อทั้งหมด -เลือกดาวเทียมที่ต้องการ -ถ้าชื่อดาวเทียมที่ต้องการไม่อยู่ในรายชื่อที่แสดง ให้เลือก User Defined หมายถึง กำหนดโดยผู้ใช้ 2. Frequency : เลือกคามถี่ที่ต้องการ ใช้ปุ่มลูกศร ซ้าย-ขวา หรือปุ่ม OK เพื่อแสดงความถี่ 3. DiSeqC 1.2: เลือก DiSeqC 1.2 เป็น ON หรือ OFF ถ้าเป็นจานมูฟเลือก ON 4. Move : สั่งมูฟ หน้าจานไปยังทิศตะวันออกหรือตะวันตกต่อเนื่องด้วยปุ่มลกศร ซ้าย- ขวา 1สเต๊ป ด้วยปุ่ม ลูกศร ซ้าย-ขวา 5. Fine Move : สั่งมูหน้าจาน ไปทางทิศตะวันออกหรือตะวันตก ครั้งละ 1 สเต็ป ด้วยปุ่มลูกศร ซ้าย- ขวา 6. Positioner Command : เลือกคำสั่งเกี่ยวกลับการปรับแต่งหน้าจาน ด้วยลูกศร ซ้าย-ขวา หรือ OK - Store Satellite Position เซฟตำแหน่งดาวเทียม -Go to Reference มูฟจานไปตำแหน่งอ้างอิง -(Re-) Calculate เป็นตำแหน่งดาวเททียมทุกดวงตามตำแหน่งอ้างอิงใหม่ -Set Esat (Soft) Limit เซ็ทลิมิตตะวันออกสุด (ซ็อฟ-ลิมิต) -Set West (Soft) Limit เซ็ทลิมิตตะวันตกสุด (ซ็อฟ-ลิมิต) -Disable (soft) Liimt ยกเลิกตำแหน่งลิมิตทั้งตะวันออกสุดและตะวันตกสุด -Go to Stored Position วิ่งไปตำแหน่งเดิมไก้บันทึกค่าไว้ 7. Dish Setting : เข้าสู่เมนู Dish Stetting 8. Service Search : เข้าสู่เมนู Service Search
Service Search : การสแกนหาช่องรายการ 1. Satellite : เลือกดาวเทียมที่ต้องการ 2. Search Mode : เลือกวิธีการค้นหา Auto,Manual,Blind,Advance Auto Search Mode : ค้นหาแบบอัตโนมัติ -Search Type : เลือกชนิดของช่องรายการที่ส่ง -Network Search : ค้นหาโดยใช้ข้อมูลที่ส่งจากดาวเทียม ปกติตั้งเป็น ON -Dish Setting : กดปุ่ม OK เพื่อ เข้าสู่เมนู Dish Setting -Positioner Setting : กดปุ่ม OK เพื่อเข้าสู่เมนู Positioner Setting -Start Search : กดปุ่ม OK เพื่อเริ่มค้นหา
Blind Search Mode: ค้นหาแบบไม่ทราบค่า -Frequency : เลือกความถี่แบบ Auto ค้นหาความถี่แบบอัตโนมัติ Manual ค้นหาแบบกำหนดค่า -Polarity : กำหนดโพราไรซ์แนวตั้ง แนว นอน หรือ ทั้งหมด -Search Type : เลือกประเภทสัญญาณที่หา All,FTA,TV -Start Search : กดปุ่ม OK เพื่อเริ่มค้นหา -Dish Setting :กดปุ่ม OK เพื่อเข้าสู่เมนู Dish Setting
Manual Search Mode : วิธีค้นหาแบบแมนนวล โดยการป้อนค่า -Frequency :ใส่ความถี่ต้องการ หรือ กด OK เพื่อเลือกจากตาราง -Symbol rate : กด Ok แล้วใส่ค่าด้วยปุ่มตัวเลข -Polarity : เลือกโพราไรซ์ แนวตั้งแนวนอน -Search Tyre :เลือก ประเภทสัญญาณทที่หา All,FTA,TV -Network Search : ค้นหาโดยข้อมูลที่ส่งมาจากดาวเทียม ปกติตั้งเป็น ON -Start Search : กดปุ่ม OK เพื่อเริ่มการค้นหา -Dish Setting : กดปุ่ม OK เพื่อเข้าสู่เมนู Dish Setting
Advanced Search Mode -Frequency ซ กดปุ่มลูกศร ซ้าย-ขวา หริอ กด OK เพื่อเลือกจากตาราง -Symbol rate : กด OK แล้วใส่ค่าเป็นปุ่มตัวเลข -Polarity: เลือกโพราไรซ์ แนวตั้ง แนวนอน -Vidieo PID :กำหนดค่า Vidieo PID ด้วยปุ่มตัวเลข -Audio PID : กำหนดค่า Audio PID ด้วยปุ่มตัวเลข -Start Search : กดปุ่ม OK เพื่อเริ่มการค้นหา
System Recovery : การกู้ข้อมูลกลับคืน 1.System recover to factory default : เซ็ทค่าต่างๆในระบบให้กลับคืนสู่ค่าเดิมที่ตั้งมาจากโรงงาน 2.System recover to stored position : เซ็ทต่างๆในระบบให้กลับคืนโดยใช้ข้อมูลที่สำรองไว้ 3.Store system data : จัดการเก็บสำรองข้อมูล
System Information ดูข้อมูลทางเทคนิคของเครื่องรับฯ
ความสามารถอื่นๆ -การเชื่อมต่ออุปกรณ์บันทึกข้อมูลทางพอร์ต USB 1.MP3 Player : เล่นเพลงจากไฟล์ MP3 2.Image Viewer : เล่นไฟล์ภาพ LPEG 3.Playlist : รายชื่อไฟล์ที่บันทึกในแฟลชไดร์ว 4.Format : การฟอร์แมท แฟลชไดร์ว
การโอนถ่ายข้อมูล 1.Transfer all System data to USB storage : สำรองข้อมูลทั้งหมดเก็บไว้ในแฟลชไดร์ว กดOK เพื่อยืนยัน 2.Transfer Service dats to USB storage : สำรองข้อมูลช่องรายการเก็บไว้ในแฟลชไดร์ว กด OK เพื่อยืนยัน 3.Data download from USB storage : ดาวน์โหลดข้อมูลจากแฟลชไดร์วสู่เครื่องรับฯ กด OK เพื่อยืนยัน
ตัวเลือกสำหรับการบันทึก ข้อความยืนยันการหยุดบันทึก เลือก"On" : เมื่อกดปุ่ม STOP ในขณะทำการบันทึกข้อความเตือนจะปรากฏเพื่อให้ยืนยัน เลือก"Off" : เมื่อกดปุ่ม STOP ในขณะทำการบันทึก ระบบจะหยุดการบันทึก โดยไม่ต้องยืนยัน Time Shift(USB) : ปรับช่องเวลา การสำรองบันทึกรายการผ่านแฟลชไดร์วเมนูนี้สามารถตั้งค่า ได้เป็น 30,60หรือ120นาที เท่าที่แฟลชไดร์วที่ว่างพอถ้าตั้งค่าเป็น off จะเป็นการยกเลิกการสำรองบันทึกรายการ
-Calender : การแสดงปฏิทิน -Calculator : เครื่องคิดเลข -Game : เกมส์
CA MODULE การใช้เมนู smart card ในการรับชมช่องรายการที่มีการเข้าสู่รหัสสัญญาณไว้ จำเป็นจะต้องใช้บัตรสมาทร์การ์ดที่ใช้การถอดรหัส ซึ่งท่านจะต้องติดต่อสมัครสมาชิกกับผู้บริการนั้นๆ ใส่บัตรสมาร์ทการ์ด เข้าที่ช่องเสียบด้านหน้าเครื่องจะปรากฏข้อความคำว่า "Smart card Initializing"หมาถึงกำลังตรวจสอบสมาร์ทการ์ดหลังจากข้อความหายไปท่านจะรับชมรายการได้ตามปกติ
Smart card information ตรวจสอบข้อมูลและสถานะของบัตรสมาร์ทการ์ด เลือกช่องเสียบบัตรกดOK ข้อมูลสถานะของบัตรสมาร์ทการ์ดจะปรากฏขึ้น
Service List -Service list Managar การแก้ไขและจัดการ "ช่องรายการ" ให้ตรงกับความต้องการของท่านโดยกดปุ่ม OK จากนั้นกด ปุ่มสีเหลือง เพื่อใส่ชื่อหาช่องรายการที่ท่านต่องการ
1.การล๊อคช่องรายการ : รายชื่อช่องรายการทั้งหมดจะแสดงอยู่ทางด้านซ้ายของหน้าจอส่วนทางขวาจะแสดงช่องรายการที่ถูกล๊อคไว้ ใช้ปุ่มลูกศรและ OK เพื่อเลือกรายการทางช่องด้านซ้ายมาใส่ในช่องด้านขวารายการที่เลือกมาจะล๊อคไว้ 2.การปรับย้ายช่องรายการ : รายการชื่อช่องรายการทั้งหมด จะแสดงอยู่ทางด้านซ้ายของหน้าจอ รายชื่อช่องจะปรับย้ายแสดงทางช่องด้านขวาย้ายช่องรายการทางด้านขวาด้วยปุ่มลูกศร และ OK ซึ่งช่องรายการในช่องด้านขวาถูกย้ายไปจัดเรียงต่อเนื่องเมื่อเลือกตำแหน่งท่ต้องการช่องทางซ้ายมือ 3.การลบช่องรายการ: รายชื่อช่องรายการทั้งหมด จะแสดงอยู่ทางด้านซ้ายของหน้าจอใช้ปุ่มลูกศรและ OK เพื่อเลือกช่องรายการต่างๆที่ต้องการลบและกดปุ่มสีเขียว เพื่อลบ 4.ข้ามช่องราย: รายชื่อช่องรายการทั้งหมดจะแสดงอยู่ทางด้านซ้ายของหน้าจอส่วนทางด้านขวารายชื่อช่องรายการที่ต้องการให้กระโดดข้ามไปใช้ลูกศร และ กด OK เพื่อเลือกย้ายช่องรายการที่ต้องการที่ต้องการให้ย้ายไปอยู่ทางด้านขวา(เมื่อกดเปลี่ยนช่องโดยการกดปุ่ม CH+หรือCH-ช่องที่ถูกตั้งให้กระโดดข้ามจะไม่ปรากฏขึ้นมา) 5.การตั้งช่องรายการที่ชื่นชม: ปุ่ม FAV ใช้ระบุกลุ่มรายการที่ชื่นชอบ กด 1 ครั้ง กลุ่มรายการจะปรากฏให้เลือกช่องด้านซ้ายแสดงรายชื่อทั้งหมดและช่องด้านขวาแสดงรายชื่อที่ถูกเลือกใช้ปุ่มลูกศร และ OK เมื่อต้องการเพิ่มหรือรบรายชื่อที่ต้องการ 6.การแก้ไขชื่อช่องรายการ: รายชื่อช่องรายการทั้งหมด จะแสดงอยู่ด้านซ้ายของหน้าจานจอ เลือกแถบสีไปยังช่องรายการที่ต้องการแก้ไขชื่อ กดปุ่ม OK เพื่อยืนยันจะปรากฏเมนูซึ่งมีรูปคีย์บอร์ดที่หน้าจอ ใช้ปุ่มลูกศรเพื่อเลือกตัวอักษรที่ต้องการกดปุ่ม OK เพื่อแก้ไขชื่อช่องช่องรายการกด YES เพื่อยืนยัน
การปรับแต่ง"เมนูแสดงรายชื่อช่องรายการ" ให้ตรงกับความต้องการของท่าน
1.เมนูแสดงรายชื่อช่องรายการ -กรณีที่ตั้งให้เป็น "ON" : เมื่อท่านเปลี่ยนช่องรายการโดยปุ่มลูกศรและปุ่ม OK ในช่องรายชื่อภาพของช่องรายการที่เลือกจะแสดงทันทีแต่รายวื่อช่องจะยังค้างอยู่ หากต้องการปิดให้กดปุ่ม OK อีกครั้ง -กรณีที่ตั้งให้เป็น"OFF" : เมื่อเปลี่ยนช่องรายการและกดปุ่ม OK ในรายชื่อช่องรายการภาพของช่องรายการที่เลือกจะแสดงทันทีและรายชื่อช่องรายการจะหายไปในทันทีเช่น
2.การปรากฏของหน้าเมนูแสดงรายชื่อช่องรายการแบบเลื่อนออก -กรณีที่ตั้งให้ เป็น"ON" : หากกดปุ่มสีแดง หรือ ปุ่มสีเขียวเมนูรายชื่อช่องรายการจะปรากฏในลักษณะเลื่อนออกมา -กรณีที่ตั้งให้เป็น"OFF" : เมนูรายชื่อช่องรายการ จะปรากฏขึ้นมาในแบบปกติไม่มีการเลื่อนออก
3.การล๊อครายการที่ชื่นชอบ -กรณีที่ตั้งให้เป็น "ON" : เมื่อกด ปุ่มสีเขียว เพื่อเข้าสู่เมนูชื่นชอบท่านจะต้องการใส่รหัสผ่านก่อนจึงจะเข้าได้ -กรณีที่ตั้งให้เป็น" OFF" : สามารถเข้าสู่เมนูได้ทันที
4.ดูเฉพาะรายชื่อที่แยกเป็นกลุ่มแล้ว -กรณีที่ตั้งเป็น "ON" : เมนูแสดงชื่อช่องรายการ จะแสดงเฉพาะช่องรายการที่ชื่นชอบที่แยกเป็นกลุ่มไว้แล้วเท่านั้น ไม่ว่าท่านจะเลือกจัดเรียงตามตัวอักษร A - Z ทรานสปอนเดอร์ หรือ CAS -กรณีที่ตั้งเป็น "OFF" : เมนูแสดงชื่อช่องรายการจะแสดงรายชื่อช่องรายการทั้งหมด โดยจะมีแถบสีเหลืองปรากฏเพื่อบอกให้รู้ว่าเป็นช่องที่ได้กำหนดกลุ่มเอาไว้ |